ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย) นายรัฐพล ประดับเวทย์ชื่อ-นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Mr.RATHAPOL PRADUBWATE
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ที่ทำงาน ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ114 สุขุมวิท 23 คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110
เบอร์โทรศัพท์ 081-658-5477
Email rattapol@g.swu.ac.th
คุณวุฒิ สาขาวิชา และสถาบันที่สำเร็จการศึกษา (เรียงจากระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก)
ความเชี่ยวชาญเทคโนโลยีการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
ผลงานทางวิชาการ
Boonkate, W., Pheeraphan, N., & Pradubwate, R. (2022). THE DEVELOPMENT OF LEARNING MANAGEMENT MODEL AND INSTRUMENTS FOR PROMOTING ADVERSITY QUOTIENT IN THE CONTEXT OF THE DIGITAL AGE BY USING THE CONCEPT OF CONNECTIVISM FOR UNDERGRADUATE STUDENTS WITH DIFFERENT PERSONALITIES. Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology, 7(5), 194–211. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/256651
Chantharacherd, N. ., Pradubwate, R. ., Sirawong, N. ., & Boriboon, G. . (2021). Effectiveness of a training model based on intergenerational and participatory learning to enhance health information literacy for the elderly. Journal of Public Health and Development, 19(3), 89–101. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/AIHD-MU/article/view/251866
Apisit Thaoyabut, Rathapol Pradubwate and Nipada Trairut. 2021. The Development of Flipped Classroom with Mobile Learning Model to Promote Digital Citizenship for Junior High School students; a Case Study of Thailand. PSYCHOLOGY AND EDUCATION. (ISSN 1553 -6939). 58(5): 485-495.
รัชนีวรรณ เผ่าวณิชย์, ผศ.ดร.รัฐพล ประดับเวทย์, อ.ดร.นฤมล ศิระวงษ์. (2564). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์แบบผสมผสานร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิคซินเนคติกส์เพื่อส่งเสริมความสามารถการเขียนภาษาอังกฤษเชิงสร้างสรรค์. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 16(2): 63-74.
จีรนันท์ ครุธาโรจน์, ผศ.ดร.รัฐพล ประดับเวทย์, อ.ดร.นฤมล ศิระวงษ์. (2564). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้กลวิธีการเดาความหมายจากบริบทร่วมกับเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 15(3): 47-63.
ภานุวัฒน์ สงแสง, ผศ.ดร.วันเพ็ญ ประทุมทอง, ผศ.ดร.รัฐพล ประดับเวทย์. (2564). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านที่มีต่อความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา. 15(1): 104-117.
รุวัยดา อาบีดีน, รัฐพล ประดับเวทย์ และนฤมล ศิระวงษ์. (2019). Development Of Archaeological Applications In Phra Nakhon Si Ayutthaya With 3d Virtual Reality Technology. NAJUA: Architecture, Design and Built Environment, 34(1), D1-D15. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/203250
ภาณัททกา วงษากิตติกุล, รัฐพล ประดับเวทย์, ชมพูนุท สุขหวาน และไพรัช วงศ์ยุทธไกร. (2560). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาแบบความร่วมมือ เพื่อยกระดับคุณภาพสู่มาตรฐานสากล. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา. 11(2): 126-145.
รัฐพล ประดับเวทย์. (2560). แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีตามแนวคิดอนุกรมวิธานของบลูม. วารสาร Veridian E-Journal. มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม); 1051-1065
รัฐพล ประดับเวทย์. (2560). ผลการจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านสำหรับนิสิตวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. 11(1), 39-49.
อิทธิณัฐ ตันติวิทิตพงศ์, รัฐพล ประดับเวทย์, นัทธีรัตน์ พีระพันธุ์ และสมสรรญก์ วงษ์อยู่น้อย. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนทักษะแบบผสมผสานโดยเน้นการเรียนรู้ในสถานการณ์จริงเพื่อเสริมสร้างทักษะการทำงานสำหรับนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 10(28): 127-142.
ธนกร ขันทเขตต์, ฤทธิชัย อ่อนมิ่ง, รัฐพล ประดับเวทย์ และสมสรรญก์ วงษ์อยู่น้อย. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยเน้นคุณลักษณะการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนิสิตระดับอุดมศึกษา. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. (10)29, 29-42.
เมธี คชาไพร, ฤทธิชัย อ่อนมิ่ง, รัฐพล ประดับเวทย์ และสมสรรญก์ วงษ์อยู่น้อย. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างความรู้และสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สำหรับนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. (10)29, 71-86.
วิวัฑฒน์ สมตน และรัฐพล ประดับเวทย์. (2558). การพัฒนาเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์ พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ. (16)32, 85-92.
ณัฐนัย ศรีโรจน์ และรัฐพล ประดับเวทย์. (2558). การพัฒนาเว็บไซต์หอจดหมายเหตุ สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ. (16)32, 93-99.
ฐนกร บุญเนียง และรัฐพล ประดับเวทย์. (2557). การพัฒนาอุปกรณ์ลดการสั่นไหวของกล้องสำหรับการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา. (8)2, 24-33.
ชีวิน ตินนังวัฒนะ, รัฐพล ประดับเวทย์ และสุปรีญา ศิริพัฒนกุลขจร. (2555). ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) เรื่องอาหารและสารอาหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ . วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ . 13(2). 89-96
2. บทความวิจัยตีพิมพ์ฉบับเต็มจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
Rathapol Pradubwate, Nutteerat Pheeraphan, Naruemon Sirawong, and Nipada Trirat. 2020. Characteristics and Learning Behavior of Active Learners on SWU-MOOC. In Proceedings of the 2020 11th International Conference on E-Education, E-Business, E-Management, and E-Learning (IC4E 2020). Association for Computing Machinery, New York, NY, USA, 158–162. DOI:https://doi.org/10.1145/3377571.3377603
Nipada Trirat, Nutteerat Pheeraphan, Rathapol Pradubwate, and Naruemon Sirawong. 2020. Completion Rate, Satisfaction and Opinion on Thai Massive Open Online Courses: Reflection on SWU MOOC’s Learners. In Proceedings of the 2020 11th International Conference on E-Education, E-Business, E-Management, and E-Learning (IC4E 2020). Association for Computing Machinery, New York, NY, USA, 163–168.DOI:https://doi.org/10.1145/3377571.3377604
Rathapol Pradubwate & Nutteerat Pheeraphan. (2019). A Development Model of “Studio Teach for Tech” to Promoting Skills on Information and Communication Technology for Thai Students in the 21 st Century. Proceedings of the 10th International Conference on E-Education, E-Business, E-Management and E-Learning Tokyo, Japan — January 10 – 13, 2019. ACM New York, NY, USA, Pages: 230-234. doi>10.1145/3306500.3306526
ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ (อาคาร 12 ) ชั้น 8114 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110